วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ระบบฐานข้อมูล

ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล คือ ระบบจัดเก็บข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบำรุงรักษาข้อสนเทศ (Maintain information) และสามารถนำข้อสนเทศเหล่านั้นมาใช้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ           
ระบบฐานข้อมูลประกอบส่วนประกอบหลัก4 ส่วนได้แก่

ความเป็นมาของ OOP

ความเป็นมาของ OOP 
แนวคิด OOP ไม่ใช่ของใหม่ แต่มีมาพร้อมๆ กับการเริ่มต้นของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ในปี ค.ศ. 1960 นักเขียนโปรแกรม คิดค้นภาษา Simula (อ่านว่าซิมูลา) สำหรับเครื่อง UNIVAC ซึ่งเป็นภาษาแรกที่มีคุณสมบัติในการทำ OOP และอีกสามปีต่อมา นักศึกษาที่สถาบัน MIT อีวาน ซัทเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland) สร้างซอฟท์แวร์ชื่อ Sketcpad เป็นโปรแกรมประยุกต์ทำหน้าที่ช่วยการออกแบบ (CAD) มันเป็นโปรแกรมแรกที่นำ การปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ด้วยภาพ” (Graphic User Interface หรือ GUI) มาใช้อย่างสมบูรณ์ และการออกแบบสร้างก็ทำโดยใช้หลักการ OOP อย่างเต็มรูปแบบ 

โครงสร้างแบบแหวน (RING NETWORK)

โครงสร้างแบบแหวน (Ring Network)
โครงสร้างแบบนี้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์จะถูกเชื่อมต่อเข้ากับสายเคเบิลเส้นเดียวเป็นวงแหวนดังรูป
ที่ได้แสดงไว้ การส่งข้อมูลจะใช้ทิศทางเดียวกันตลอดโดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ถัดกัน
ไปเป็นทอด ๆ ถ้าแอดเดรสของมันไม่ตรงกับผู้รับตามที่เครื่องต้นระบุมา มันก็จะส่งผ่านไปยัง
เครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงเครื่องปลายคือตรงกับใครเครื่องนั้นก็รับ ไม่ส่งต่อ โครงสร้างแบบน
ี้มีข้อเสียคล้าย ๆ กับแบบบัส คือเมื่อสายเคเบิลช่วงใดช่วงหนึ่งขาดจะทำให้ทั้งระบบใช้งานไม่ได้ อย่างไรก็ตามเครือข่ายแบบวงแหวนมักใช้สายเคเบิลที่มีวงแหวนสำรองที่สามารถส่งข้อมูลใน
ทิศทางกลับกัน เพื่อเป็นเส้นทางสำรองในกรณีที่เครือข่ายมีปัญหา ซึ่งราคาแพงพอสมควร นอกจากนี้การเพิ่มเครื่องเข้าไปในเครือข่ายจะต้องปิดการทำงานของระบบก่อนเช่นเดียวกับแบบบัส เครือข่ายแบบนี้ปัจจุบันยังใช้กันอยู่ โดยเฉพาะในเครือข่ายของผลิตภัณฑ์ในตระกูล IBM ซึ่งโดยมากจะเป็นการเชื่อมต่อเครื่องเมนเฟรมหรือมินิคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ 
 หมายถึง เครื่องอุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่ง ที่มีการทำงานแบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อนตามคำสั่งของโปรแกรม ขั้นตอนการทำงานจะประกอบด้วย การรับโปรแกรมและข้อมูลในรูปแบบที่เครื่องสามารถรับได้ และทำการประมวลผล โดยทำการเปรียบเทียบจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ จากนั้นนำผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงผลที่อุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภาพหรือเครื่องพิมพ์ เป็นต้น

ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์

ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ความแตกต่างจากขนาดของเครื่อง ความเร็วในการประมวลผล รวมทั้งราคาเป็นหลัก คือ

คำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรม

คำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรม 

   สำหรับบทนี้จะอธิบายถึงคำสั่งควบคุมการทำงานของโปรแกรม  ซึ่งแบ่งกลุ่มตามลักษณะการทำงานตามข้อกำหนดมาตรฐานของสถาบัน  ANSI (American  National  Standards  Institute)  กำหนดให้ภาษา  C  มีคำสั่งที่ใช้ควบคุมการทำงานของโปรแกรมดังนี้
           1) คำสั่งวนลูปหรือทำงานซ้ำ ๆ เป็นลูป (loop  statements)  ได้แก่  คำสั่ง  for, while, do while  และมีคำสั่งออกจากลูปคือคำสั่ง  break  หรือทำงานในรอบต่อไป  คือคำสั่ง  continue
           2) คำสั่งทดสอบเงื่อนไขในการตัดสินใจ  (decision  statements)  ได้แก่  คำสั่ง  if, if else, โครงสร้าง  else  if  (หรือ  nested  if)  และคำสั่ง  switch
           3) คำสั่งที่สั่งให้ไปทำงานตามจุดที่กำหนดให้   (goto  statements)  ได้แก่  คำสั่ง  goto  และ  label  ซึ่งแต่ละคำสั่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ฟังก์ชันพื้นฐานการเขียนโปรแกรมภาษา C

ฟังก์ชันพื้นฐานการเขียนโปรแกรมภาษา  C

 จากบทที่ 2 ได้กล่าวถึงรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมภาษา  C   สำหรับบทนี้จะอธิบายถึงฟังก์ชันพื้นฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมภาษา  C  เนื่องจากภาษา  C  มีฟังก์ชันให้ใช้งานมากมายแต่ในบทนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันพื้นฐานที่ใช้งานอยู่เป็นประจำในการเขียนโปรแกรมนั้นคือ  ฟังก์ชันรับข้อมูลและฟังก์ชันแสดงผลข้อมูล  โดยแต่ละฟังก์ชันมีรายละเอียดดังต่อไปนี้